วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2553

3. Incident Management – Benefits

Incident Management – Benefits
·       ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นแก่ business โดยคำนึงถึงปัจจัยเรื่องเวลาเป็นสำคัญ
·       การตรวจสอบและป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้น
·       การจัดการทางด้านข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับ SLA เป็นสำคัญ
·       ปรับปรุงการ monitoring
·       ปรับปรุงการจัดการทางด้านข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะต่างๆของบริการ
·       Staff มีการทำงานที่เป็นระบบกว่าเดิม คือจะไม่มีการ interrupt เกิดขึ้นของแต่ละ incidents
·       ขจัด incident และ service request ที่ไม่จำเป็นออกไป
·       ระบบ CMDB information จะดียิ่งขึ้น
·       User หรือ ลูกค้า มีความพอใจในระบบมากยิ่งขึ้น

Incident Management – Risks
·       ไม่มีการ พิจารณาจาก staff หรือ ผู้บริหาร
·       ความต้องการทางธุรกิจ ขาดความกระจ่าง
·       จุดมุ่งหมายวางไว้ไม่ดีพอ
·       กระบวนการต่างๆไม่มีการ ตรวจสอบหรือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยครั้ง
·       ไม่มี service level ในส่วนของ ลูกค้า
·       องค์ความรู้ไม่เพียงพอในการแก้ปัญหาของ incident
·       configuration database ทำได้ไม่ดีพอ
·       ไม่มีการ integrate กระบวนการต่างๆเข้าด้วยกัน
·       มีการต่อการการใช้ incident management นี้เกิดขึ้น

Incident Management – Best Practices
·       มีการรวมเข้ากับ Service Level Management (SLM)
·       ระบบใหม่มีการร้องของจากลูกค้าโดยมีกระบวนการทำงานที่ดีกว่า ระบบแบบเก่า
·       ความสำคัญกว่าการลด cost ของ ธุรกิจคือการ เพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมขององค์กร
·       มีการแบ่งแยกชัดเจนระหว่าง incident management กับ problem management

Incident Management – Summary
จุดประสงค์ของ incident management คือการทำให้ระบบ operation กลับคืนมาสู่สภาวะปกติ ภายใต้ความควบคุมของ SLA ด้วยความีรวดเร็วและเป็นไปได้ที่สุด หลังจากที่มี incident เกิดขึ้นในระบบ และ เพื่อลดผลกระทบต่อความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่ business

Incident management process
·       การตรวจสอบและการบันทึกของ incident
·       การ classify incident และการ แก้ปัญหาขั้นต้น
·       การตรวจสอบและวิเคราะห์
·       การแก้ปัญหาและการนำกลับคืนมาสู่สภาวะปกติ
·       การปิด incidents

Prioritization โดยเริ่มดูจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้นแก่ business และระดับความเร่งด่วนของ incident นั้นๆต่อจากนั้นถึงจะเป็นขั้นตอนการแก้ปัญหา การจัดลำดับ priority ที่ถูกต้องจะทำให้พนักงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งทำให้ลูกค้าเกิดความใจสูงสุด

วันอังคารที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553

3.Incident Management

Incident Management – Objective and Overview
จุดประสงค์หลักของ incident management คือ การทำให้ระบบ operation กลับคืนมาสู่สภาวะปกติ ซึ่งอยู่ภายใต้ความควมคุมของ SLA (Service Level Agreement) ด้วยกระบวนการที่รวดเร็วและเป็นไปได้ หลังจากที่มี incident เกิดขึ้นใน ระบบ และ มีผลกระทบต่อ business operation
การทำงาน ที่จะแสดงถึงการจัดการ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในระบบโครงสร้างและการร้องขอบริการที่คล้ายๆกัน จึงถูกรวมเรียกว่า incident management

Service Desk จะมีหน้าที่ในการควมคุมกระบวนการในการแก้ปัญหาของแต่ละ incident ซึ่งโดยแท้จริงแล้ว Service Desk จะเป็นผู้ดูแล incident ที่เกิดขึ้นทั้งหมด process ของ ระบบนี้จะเป็นแบบ reactive
การตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิพลนั้นจำเป็นต้องมีวิธีการแก้ปัญหาที่มีแบบแผน ซึ่งมี software tools เข้ามาช่วย
จุดประสงค์ของ Incident Management มีดังนี้
·       การทำให้ระบบกลับคืนมาได้อย่างเป็นไปได้และรวดเร็วที่สุด
·       แบ่งเบาภาระของ user ให้น้อยลง
·       การจัดการของ แต่ละ incident จะอยู่ใน lifecycle ของมันเอง
ให้ความช่วยเหลือการทำงานของ operation

Incident Management – Inputs and Outputs
Input
·       Incident report จาก service desk และ monitoring
·       ข้อมูลของ user ,system configuration, service level
·       ข้อมูลจาก solution, tested workarounds
·       ข้อมูลจากส่วนที่เปลี่ยนไปในระบบ
Output
·       การร้องขอ change ไปยังระบบ change management
·       ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับ incident หรือ ปัญหาต่างๆ ไป ยัง ระบบ problem management
·       การแก้ปัญหาและ การปิด incidents
·       ข้อมูลที่จะถูกส่งไปยัง user
·       Report ที่ส่งไปยังผู้บริหาร

วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ประโยชน์ และ ค่าใช้จ่าย - Service Desk

ประโยชน์ และ ค่าใช้จ่าย

 ประโยชน์
     ควบคุมเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันอย่างสมบูรณ์
     การบริการอย่างมีประสิทธิผลของส่วนงานที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ
     มี productivity ของ user ที่สูงขึ้น
     ปรับปรุงความสัมพันธ์ของ IT กับ user
     การจัดการกับข้อมูลที่มีความสำคัญ
ค่าใช้จ่าย
     ค่าใช้จ่ายแปรผันไปขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณงานของ Service Desk
     รวมถึงราคาที่สั่งซื้อสำหรับ hardware, software, พนักงาน และ ที่ดินสิ่งปลูกสร้าง; และค่าใช้จ่ายสำหรับพนักงานปัจจุบัน ที่ดินสิ่งปลูกสร้างและค่าโทรศัพท์

ความเสี่ยง

ปราศจาก Service Desk:
     user ไม่รู้ว่าจะติดต่อใครในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันขึ้น
     เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันไม่มีการบันทึกไว้และก็จะถูกลืม
     การเพิ่มขึ้นของเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันนั้นไม่ถูกจัดการได้อย่างเหมาะสม
     ผู้ชำนาญทางด้าน IT ถูกขัดจังหวะโดยการเรียกของ user
     ใช้ความพยายามในการแก้ปัญหามากขึ้น
     ไม่มีข้อมูลสรุปสำหรับการจัดการ
เมื่อมี Service Desk:
     Service Desk อาจจะเป็น คอขวดเมื่อมี เหตุการณ์หรือ user มากเกินกว่าที่คาดไว้
     User ยังคงติดต่อกับ ผู้เชี่ยวชาญโดยตรงถ้าพวกเค้าได้ทำสิ่งเหล่านี้ในอดีต
     ความตึงเครียดระหว่าง Service Desk และ IT service อื่นๆจะดูดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้า Service Desk ไม่ได้เพิ่มระดับในการยอมทำตามกฎข้อบังคับหรือแม้กระทั่งรายงานโดยตรงสู่ IT management

Best Practices

     ทำเอกสารให้เป็นมาตรฐานจากข้อมูลผู้เรียก
     จัดสรร ID ให้กับผู้ร้องขออย่างอัตโนมัติ ; การส่งใบเสร็จรับเงินกลับและ แบบฟอร์ม feedback
     คัดเลือกการบริหารของข้อมูล user ใน Configuration Management Data Base
     ใช้ CTI และ ACD เทคโนโลยี (voice call, routing จำพวกนี้)
     ใช้การเฝ้าสังเกตระบบให้เป็นประโยชน์สำหรับการบริการของความเสียหายที่เพิ่งตรวจพบ
     ทีมงานจาก second-level support  เตรียมพร้อมชั่วคราวใน Service Desk
     โครงสร้าง Service Desk ขนาดใหญ่ในทีมพร้อมกับ know-how พิเศษและถูกสนับสนุนโดย skill routing
     ทำงานกับ super user (user ที่มีความรู้คอมพิวเตอร์)

 

สรุป

     Service Desk คือ การทำงาน(function) ไม่ใช่กระบวนการทำงาน (process) ภายใน Service Management
     Service Desk คือ จุดสำคัญสำหรับ การร้องขอบริการทั้งหมดจาก business user โดยตรงไปถึง หน่วยงาน IT (รวมถึง บริษัทที่สาม (third-party)) และจัดการมันภายใต้ข้อตกลง Service Level Agreements
     ความรับผิดชอบของ Service Desk รวมไปถึง
-   การติดต่อจุดเดียว (Single Point of Contact SPOC)
-   การจัดการเหตุการณ์ไม่คาดฝัน (Incident Management)
-   การช่วยเหลืออันดับแรก (First level support)
-   การรายงาน (Reporting)
     Service Desk คือหน้าต่างของการเสนอบริการระดับต่างๆโดยหน่วยงาน IT ไปสู่ธุรกิจ
     รักษาการแจ้งให้ user ทราบเป็นระยะๆ สำหรับ สถานะของ การร้องขอบริการของพวกเขา
     จัดหา ข้อมูลการจัดการ ให้ บนหัวข้อที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาบริการ
     มี Service Desk สามประเภทคือ Local, Central และ Virtual Service Desk

วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553

2. Service Desk

Objectives and Overview

Service Desk เป็นหัวใจสำคัญสำหรับการร้องขอบริการทั้งหมดจาก business users ไปถึงหน่วยงาน IT เพื่อบันทึกและจัดการวัฏจักรของเหตุการณ์ต่างๆ ด้วยการเน้นย้ำให้ความสำคัญกับเรื่องของความเร็วในการทำให้กลับสู่สภาพปกติของบริการด้วยผลกระทบกับธุรกิจน้อยที่สุด โดยService Desk หนึ่งหรือหน่วยงาน Service Desk เป็นที่ถูกแนะนำ ซึ่ง Help Desk, Service Line และ First-Level Support นั้นถูกใช้ในความหมายเดียวกัน สำหรับ Service Desk
สำหรับ users คำว่า Service Desk จะหมายความถึง:
     เป็นตัวกลางที่สื่อสารทำหน้าที่แก้ปัญหาที่ขัดข้อง
     กู้คืนการบริการที่ถูกทำให้หยุดชะงักเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

หน้าที่ที่รับผิดชอบของ Service Desk

     การให้บริการโดยเป็นจุดติดต่อของ user
     ควบคุมกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน
     สนับสนุนการดำเนินไปของธุรกิจ
     จัดหาข้อมูลด้านการบริหาร


กิจกรรมของ Service Desk

     ดูแลการเรียกใช้
     บันทึกและติดตามการร้องขอบริการ โดยรวมเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน จนถึงสิ้นสุด และยืนยันความถูกต้องกับ user
     ร้องขอการจัดแบ่งถึงเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน และเริ่มต้นช่วยเหลือ รวมถึงการส่งต่อไป second level ภายใต้ขอกำหนด Service Level Agreements (SLA)
     ดำเนินการแจ้งต่อลูกค้าเรื่อยๆถึงสถานะของการร้องขอและระดับความสำคัญ
     เริ่มเพิ่มขั้นตอนที่เกี่ยวข้องสู่ SLA
     ประสานงานกับการจัดการเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน จนกระทั่งมีแก้ปัญหาด้วย ระดับ 2 และ ระดับ 3 line support
     ช่วยที่จะระบุถึงปัญหาโดยการบันทึกเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันทั้งหมด
     จัดหาข้อมูลการจัดการให้ และแนะนำสำหรับการปรับปรุงบริการให้ดีขึ้น
     สื่อสารถึงการเปลี่ยนแผนให้กับ users

วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ITIL Service Management (ITSM)

ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ

Service Support มี 5 processเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติประจำวันในการให้บริการด้าน IT
Service Delivery มี 5 process ที่มุ่งเน้นในการวางแผนและการปรับปรุงการให้บริการด้าน IT ในระยะยาว

ทั้งสองส่วนหลักถูกเชื่อมโยงด้วย Service Desk ซึ่งเป็น Function เพื่อรองรับการติดต่อที่จุดเดียว (Single Point of Contact) โดยจะมุ่งเน้นที่การทำให้การให้บริการทางด้าน IT เป็นปรกติเร็วที่สุด

Service Support
     Incident Management
     Problem Management
     Change Management
     Configuration Management
     Release Management

Service Delivery
     Service Level Management
     Availability Management
     Capability Management
     Financial Management
     IT Service Continuity 

ITIL Five Key Areas
1.      Business Perspective
2.      Application Management
3.      Service Delivery
4.      Service Support
5.      Infrastructure Management

วันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ประวัติของ ITIL

     จัดทำขึ้นครั้งแรกโดย UK’s Central Computer and Teleommunication Agency (CCTA)
     เผยแพร่ครั้งแรกปี 1989
     มีบริษัทต่างๆนำไปใช้ เช่น HP,IBM,Microsoft
     ปี 1990 ออกมาเป็น ITIL Version 2 มีตำราหลักๆ 2 เล่ม Service Support กับ Service Delivery
•  มีตำราใหม่ๆ ออกตามมา โดยคลอบคลุมเนื้อหาทางด้าน Implementation Planning, Security Management, Infrastructure Management, Application Management, Business Perspective
     ปี 2001 CCTA ได้รวมกัย Office of Government Commerce (OGC) ,ITIL จึงอยู่ในความดูแลของ              OGC
    จัดทำขึ้นครั้งแรกโดย UK’s Central Computer and Teleommunication Agency (CCTA)
     เผยแพร่ครั้งแรกปี 1989
     มีบริษัทต่างๆนำไปใช้ เช่น HP,IBM,Microsoft
     ปี 1990 ออกมาเป็น ITIL Version 2 มีตำราหลักๆ 2 เล่ม Service Support กับ Service Delivery
•   มีตำราใหม่ๆ ออกตามมา โดยคลอบคลุมเนื้อหาทางด้าน Implementation Planning, Security Management, Infrastructure Management, Application Management, Business Perspective
     ปี 2001 CCTA ได้รวมกัย Office of Government Commerce (OGC) ,ITIL จึงอยู่ในความดูแลของ OGC
     ITIL ได้กลายเป็นพืนฐานในการพัฒนามาตรฐานการจัดการให้บริการของ British Standard
     ITIL  Implementation : Adopt and Adapt
     ITIL อธิบายว่าต้องทำอะไรแต่ไม่ได้กำหนดว่าต้องทำอย่างไร
     ITIL ไม่ได้กำหนดทุกๆ หน้าที่ เครื่องมือ หรือ กระบวนการ
     ITIL ไม่ได้อธิบายทุกสิ่งทุกอย่างเกียวกับ IT แต่เป็นที่ยอมรับว่าเป็น Best Practice ในการจัดการด้าน IT
     ITIL สามารถนำไปใช้อ้างอิงในจัดการการให้บริการด้าน IT
     ITIL สามารถนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของแต่ละองค์กร
•  ITIL ได้กลายเป็นพืนฐานในการพัฒนามาตรฐานการจัดการให้บริการของ British Standard
     ITIL  Implementation : Adopt and Adapt
     ITIL อธิบายว่าต้องทำอะไรแต่ไม่ได้กำหนดว่าต้องทำอย่างไร
     ITIL ไม่ได้กำหนดทุกๆ หน้าที่ เครื่องมือ หรือ กระบวนการ
    ITIL ไม่ได้อธิบายทุกสิ่งทุกอย่างเกียวกับ IT แต่เป็นที่ยอมรับว่าเป็น Best Practice ในการจัดการด้าน                               IT
     ITIL สามารถนำไปใช้อ้างอิงในจัดการการให้บริการด้าน IT
     ITIL สามารถนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของแต่ละองค์กร